skip to main
|
skip to sidebar
Home
OK betong
Article tourism and festivals Reviews.
Home
CARS
CAR FOCUS
OFF-ROAD
USED-CARS
BIG-BIKE
Thai-trips
Thai trips
CAMERAS
Software
Office
Parent Category
Child Category 1
Sub Child Category 1
Sub Child Category 2
Sub Child Category 3
Child Category 2
Child Category 3
Child Category 4
Featured
Health
Childcare
Doctors
music
politics
Welcome to OK betong
You can find about Article tourism and festivals Reviews.
Subscribe
Follow Us!
Be Our Fan
aStore link
accessories
atv
aurora pen
autoparts
bedroomfurniture
cameravideo
canon
caraudiovideo
cartools
Clothing for men
diningroomfurniture
entertainmentfurniture
fishing
fountainpens
furnitureshop
gpsnavigation
homeofficefurniture
kitchen
lenses
livingroomfurniture
About Me
Unknown
View my complete profile
Blog Archive
Blog Archive
July 2012 (4)
January 2012 (6)
December 2011 (4)
November 2011 (4)
October 2011 (1)
September 2011 (3)
August 2011 (5)
July 2011 (4)
May 2011 (4)
April 2011 (1)
March 2011 (8)
February 2011 (7)
January 2011 (9)
December 2010 (5)
November 2010 (7)
October 2010 (1)
September 2010 (5)
August 2010 (12)
July 2010 (15)
June 2010 (5)
May 2010 (7)
April 2010 (7)
March 2010 (14)
February 2010 (10)
January 2010 (2)
December 2009 (4)
November 2009 (4)
October 2009 (15)
Clicksor.COM
Amazon.com Widgets
10/12/2009
กำเนิด "ปากกา"
11:21:00 PM
Unknown
No comments
นอกจากตัวอักษรหรือตัวหนังสือซึ่งมนุษย์ได้คิดประดิษฐ์ขึ้นมาใช้แล้ว
" เครื่องมือ " หรือ " อุปกรณ์ " ที่ใช้สำหรับการขีดเขียนก็เป็นสิ่งที่น่าสนใจไม่น้อย เพราะกว่าที่เราจะเขียนหนังสือด้วย "ปากกา " หรือ " ดินสอ " ดังเช่นในปัจจุบันนี้ มนุษย์ต้องใช้เวลาในการพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการขีดเขียนเป็นเวลานานหลาย พันปี
ในยุคอดีตมนุษย์อาจจะใช้นิ้วจุ่มดินหรือหินสี ที่บดเป็นผงผสมกับยางไม้ หรือกาวจากหนังสัตว์ ขีดเขียนบนผนังถ้ำหรือเพิงผา ต่อมาอาจใช้ ดิน หิน ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม โดยการนำมาฝนหรือทำให้เป็นแท่งเพื่อความสะดวกในการขีดเขียน เช่น นำหินชนวนมาทำเป็นดินสอหิน สำหรับเขียนบนกระดานชนวน หรือการทำชอล์กจากผงแคลเซียมซัลเฟต จากเกลือจืด หรือยิปซัมผสมน้ำ แล้วทำให้เป็นแท่งเพื่อสะดวกในการใช้งาน เช่นในปัจจุบันนี้
วิวัฒนาการของการเขียน
จากการเขียนบนฝาผนังถ้ำ นำมาสู่การเขียนบนแผ่นไม้หรือแผ่นโลหะ ตลอดถึงการเขียนบนใบไม้ (เขียนหรือจารคัมภีร์โบราณลงบนใบลาน) มาจนถึงการประดิษฐ์กระดาษขึ้นใช้ จนกระทั่งถึงทุกวันนี้ มนุษย์ได้มีการพัฒนาเครื่องมือและกรรมวิธีในการเขียนมาอย่างต่อเนื่อง
ชาวอียิปต์โบราณเป็นชาติแรกที่ใช้แปรงเขียนหนังสือบนแผ่นกระดาษที่ทำจากต้น ปาปิรุส (papyrus) เป็นการเริ่มต้นวิธีการเขียนด้วยการปล่อยหมึกหรือสีบนแผ่นรองเขียน เช่นเดียวกับการเขียนหนังสือด้วยพู่กันของจีนและญี่ปุ่น ซึ่งอาจเป็นแนวความคิดเบื้องต้นที่พัฒนาไปสู่การประดิษฐ์ปากกา
ชาวกรีกโบราณประดิษฐ์ปากกาขึ้นจากต้นกกไส้กลวง โดยการปาดให้มีปากหลายๆแบบ ทำให้เขียนเส้นได้หลายขนาด ปากกานี้ไม่ใช้หมึกแต่ใช้เขียนบนผิวไม้ที่เคลือบขี้ผึ้งไว้ ทำให้เกิดรอยเป็นตัวอักษรบนผิวขี้ผึ้ง
"ปากกาแพร่หลายในอังกฤษ"
การนำวัสดุผิวเรียบมาเป็นสิ่งรองเขียนก่อให้เกิดการพัฒนา " เครื่องเขียน " ที่มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับการใช้สอย มนุษย์เริ่มนำขนนกหรือขนห่านมาทำเป็น " ปากกา " เรียกว่า " ปากไก่ " สามารถเขียนได้คมชัดและเขียนติดต่อกันได้นาน
ในศตวรรษที่ 5 " ปากไก่ " เป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายในประเทศอังกฤษ นับเป็นเครื่องมือสำคัญที่ใช้ในการเขียนหนังสือของชาวตะวันตก ในขณะที่ชาวตะวันออกยังนิยมใช้พู่กันไม้อยู่ แต่ทั้ง "ปากไก่" และ "พู่กัน" ไม่มีหมึกในตัวเอง ต้องจุ่มหมึกทุกครั้งที่ใช้เขียนทำให้เขียนได้ไม่สะดวก
ต่อมาประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 15 มนุษย์เริ่มประดิษฐ์ " ปากกา " ที่มีปากเป็นโลหะและมีรอยผ่าตรงกลางปาก ทำให้เขียนได้นานโดยไม่ต้องจุ่มหมึกทุกครั้งที่เขียน
ในประเทศอังกฤษมีการทำปากกาชนิดนี้ขึ้นใช้กันอย่างแพร่หลาย มีการผลิต " ปากกา " ที่ปลายปากทำด้วยวัสดุต่างๆกัน เช่น เขาสัตว์ เปลือกหอย เหล็กและทอง มีการผลิตกันมากขึ้นจนกลายเป็นโรงงานอุตสาหกรรม แข่งขันกันในเรื่องของความสวยงาม พร้อมกับประดิษฐ์กล่องและที่ใส่หมึกควบคู่ไปกับปากกาด้วย แม้ว่าจะได้รับความนิยมกันอย่างแพร่หลาย แต่ก็ไม่มีผู้ใดสามารถประดิษฐ์ปากกาที่มีหมึกในตัวเองได้
"บิดาแห่งการประดิษฐ์ปากกาหมึกซึม"
ปี ค.ศ. 1884 Lewis Edson Waterman ได้ผลิตปากกาที่มีหมึกในตัว เรียกว่า " ปากกาหมึกซึม " (Fountain pen ) ที่นิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา จึงถือว่า Waterman เป็นบิดาแห่งการประดิษฐ์ปากกาหมึกซึม มีการคิดค้นพัฒนาปากกาชนิดนี้ให้มีคุณภาพดีขึ้น สะดวกในการใช้งานและมีรูปทรงสวยงาม ผลิตในระดับอุตสาหกรรมทั้งในอเมริกา ยุโรป ญี่ปุ่น และประเทศอื่นๆ สืบต่อมาจนถึงในปัจจุบัน มีนักประดิษฐ์ปากกาที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดี อาทิเช่น George Parker, Walter A. Sheaffer เป็นต้น และได้ครอบครองความเป็นจ้าวแห่งเครื่องมือสำหรับการเขียนมาโดยตลอดเป็นเวลา นานหลายสิบปี
ในปี ค.ศ. 1900 " ปากกาหมึกซึม " ได้พบคู่แข่งใหม่นั่นก็คือ " ปากกาลูกลื่น " ปากกาที่มีลูกกลิ้ง ( Ball ) กลมๆเล็กๆ อยู่ที่ปลายปาก เวลาเขียนลูกกลมๆเล็กๆนี้จะหมุน ( กลิ้ง ) ทำให้หมึกออกมาติดบนกระดาษ ปากกาชนิดนี้เกิดขึ้นมาประมาณ 100 กว่าปีมาแล้ว โดยชาวอเมริกาชื่อ จอห์น เอช. ลาวด์ เป็นผู้ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้ขีดเขียนบนพื้นที่หยาบๆ ซึ่งไม่ใช่กระดาษ
ปลายปี ค.ศ. 1930 นักหนังสือพิมพ์และศิลปินชาวฮังกาเรียน ชื่อ ไบโร ได้ประดิษฐ์ปากกาลูกลื่นขึ้นมาใหม่ ในขณะที่ดำรงตำแหน่งเป็นบรรณาธิการนิตยสารฉบับหนึ่ง ที่กรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี ไบโรได้เกิดแนวความคิดจากหมึกแห้ง ( Quick - drying ink ) ที่ช่างพิมพ์ในโรงพิมพ์นั้นใช้พิมพ์หนังสือ จึงคิดหาวิธีนำหมึกชนิดนี้มาบรรจุลงในปากกา โดยที่หมึกจะไม่ไหลและหยดออกมาจนเปื้อนกระดาษ ในที่สุดก็ประดิษฐ์ปากกาที่ใช้หมึกแห้งขึ้นมาจนเป็นผลสำเร็จ ซึ่งก็คือ " ปากกาลูกลื่น " ( Ball - point pen ) สามารถใช้ขีดเขียนโดยไม่มีหมึกหยดและไหลเปรอะเปื้อนเหมือนปากกาหมึกซึมแบบ เก่า
เส้นทางของปากกาลูกลื่น
ปี ค.ศ. 1938 ไบโรได้ทำการจดทะเบียนสงวนลิขสิทธิ์ แต่ได้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ขึ้นมาก่อน เขาจึงได้หนีนาซีไปอยู่ที่ฝรั่งเศส สเปน และเร่ร่อนไปเรื่อยๆ จนในที่สุดก็ไปอยู่ที่ประเทศอาร์เจนตินา
ต้นปี ค.ศ. 1940 ณ กรุงบัวโนส ไอเรส ไบโรได้รับความช่วยเหลือจากพี่ชายซึ่งเป็นนักเคมีผลิตปากกาลูกลื่นออก จำหน่าย แต่เนื่องจากขาดทุนทรัพย์ เขาจึงขายลิขสิทธิ์สิ่งประดิษฐ์นี้ให้กับราชการทหารของอังกฤษและสหรัฐ อเมริกาในราคาไม่กี่เหรียญ ภายหลังลิขสิทธิ์ได้ถูกขายต่อให้กับบริษัท BIC ( ของฝรั่งเศส ) ทำการผลิตปากกาลูกลื่นยี่ห้อ BIC ออกจำหน่ายไปทั่วโลก ในระหว่างปี ค.ศ. 1950 - 1980 สามารถจำหน่ายได้กว่า 10 ล้านด้าม / วัน
ในขณะเดียวกับที่ผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ที่แท้จริงกลับไม่ประสบกับความ สำเร็จในชีวิต สิ่งที่คงเหลืออยู่ก็คือความภูมิใจในสิ่งประดิษฐ์ที่คนทั่วโลกรู้จักและใช้ ประโยชน์มาตราบเท่าทุกวันนี้.
Posted in:
Email This
BlogThis!
Share to X
Share to Facebook
Newer Post
Older Post
Home
0 comments:
Post a Comment
A lot of Thank for your comment.
Amazon.com Widgets
Share
Popular
Tags
Blog Archives
Hotel booking
Hotel booking
Popular Posts
A Cuba Vacation
picture by : www.cuba-junky.com Taking time out from the everyday stresses & strains of life to visit an exotic place is something th...
Amazing Costa Rica Vacations amid Exotic Landscapes
For those looking for the ultimate adventure vacation whether it is by one’s self or with one’s family, look no further then the beautifu...
Khao Sok National Park
Khao Sok National Park, declared on December 22, 2523 called Khao Sok National Park, an area 645.52 square kilometers or 403,450 rai c...
Bavaria Travel Guide
Bavaria is Germany’s largest state and is located in the southern region of the country. There are resorts, hotels and private rentals loc...
Thailand Cowboy festivals
Saraburi province’s Muak Lek district surprises visitors with its own version of country western culture. The "Cowboy festivals" h...
Barbados Holidays
When considering a travel holiday to the Caribbean Barbados is considered by many to be the best choice of islands with its beautiful beach...
5 Days In Amsterdam
All was still. Around one hundred people had settled in the rest room for the overnight ferry crossing from Hull to Holland. It was pitc...
7 Tips To Enjoy Walt Disney World On A Hot Summer Day
Orlando is a hot part of the earth and come summer the humidity and temperature can reach triple digits. Worse still, weeks of heat occ...
Forbidden City, the beautiful Chinese art.
Also known as the Palace Museum, there are twenty-four emperors of the Ming and Qing dynasties lived in the Forbidden City, which got its...
Laos Information
One of the lowest population densities in Asia, at 19 persons per square km, and an estimated population of only 5.4 million people, belies...
Labels
2010 TAIPEI AMPA Innovation Awards
(1)
3 star
(1)
4 star
(1)
5 Countries
(1)
accommodations
(1)
Adventure
(1)
Adventure in Thailand
(1)
Africa
(1)
African Safari
(1)
Air Travel
(5)
air travel finder
(1)
air travel packages
(1)
Air Travel Rules
(2)
air travel tickets
(1)
Airport
(1)
Airport Hotels
(1)
Airport Limousine
(1)
Al Mazmar Beach Park
(1)
Albania
(1)
Aloha Friday
(1)
Amsterdam
(1)
Andaman
(1)
andaman beach
(1)
Andaman sea
(3)
anniversary travel
(1)
Argentina
(1)
Asean
(1)
Asia’s Spa
(2)
attractions
(1)
Austria
(1)
Auto Accessories
(1)
Auto Parts
(1)
Bahamas
(1)
Bangkok
(1)
Barbados
(2)
Bavaria
(1)
beach
(3)
Beach Hotel Holidays
(1)
Beaches
(2)
beautiful beaches
(1)
bed breakfast
(1)
bed and breakfast
(1)
Belgium
(1)
Best Diving Area
(1)
Best Dreaming Area
(1)
better prices
(1)
Bhutan
(2)
Birkin bag
(1)
book travel
(1)
Britain
(3)
Broadway
(1)
Bulgaria
(1)
Cape Town
(1)
Caribbean island
(1)
Chaina
(4)
Chaina 2010
(1)
Chaweng Beach
(1)
Cheap tour
(4)
Cheap travel
(2)
cheap trip
(2)
Chiang Mai
(2)
chiang rai
(1)
China
(2)
Chinese New Year
(2)
Chonburi province
(1)
Comments
(1)
Common International Air Travel Rules
(1)
Costa Rica
(1)
Cowbow festivals
(1)
Cuba
(1)
Culture
(1)
Customer
(1)
Cyprus
(1)
Damnoen Saduak Floating Market
(1)
Dive and Travel Awards 2010
(1)
divers
(1)
divers.
(1)
diving
(3)
Doi Inthanon National Park
(2)
driving
(1)
Dubai
(2)
Dubai Shopping Festival
(1)
European Countries
(4)
event
(1)
Expo 2010 Shanghai
(1)
Festival
(3)
find apartments
(1)
FULL MOON PARTY
(1)
Germany
(1)
getaways
(1)
Great bag
(1)
Greece
(1)
guast house
(1)
guesthouses
(1)
Halong
(1)
Halong Bay
(2)
Halong City
(1)
Halong Phoenix Cruiser
(1)
Hawaii
(2)
heart and soul of wildest Africa
(1)
Holland
(1)
Home stay
(1)
honeymoon travel
(1)
Hong Kong
(1)
hotel
(2)
hotel reviwe
(1)
Hotel spas
(2)
hotels
(3)
Hut
(1)
india
(2)
inns
(1)
Introduction of World Expo Shanghai 2010
(1)
islands
(1)
Italy
(1)
Jumeirah Beach
(1)
Kanchanaburi
(2)
Khao Sok
(1)
King’s Cup Elephant Polo Tournament
(1)
Ko Lanta
(1)
Ko Phi Phi
(1)
Koh Lanta
(1)
Koh Samui
(1)
Koh Samui Thailand
(1)
koh Si Chang
(1)
Krabi
(3)
Laos
(1)
leather goods
(1)
Lifestyle
(1)
love mote
(1)
low price
(1)
Luang Prabang
(1)
Luxury Products
(1)
Machu picchu
(1)
Mae Hong Son
(1)
Malaysia
(1)
Maldives
(1)
Monet-Saving Tips
(1)
Mu Ko Ang Thong
(1)
muaythai
(1)
Nakhon Pathom
(1)
National Park
(1)
Netherlands
(1)
New Year 2011
(1)
New York
(2)
New York Limousine
(1)
newzeland
(1)
Nightlife
(1)
Nong Khai
(1)
oahu
(1)
ok betong
(1)
Oriental Kwai Resort
(1)
outstanding bag
(1)
package tour
(3)
Paradise Gulf of Thailand
(1)
Pattaya celebrates
(2)
Phitsanulok
(1)
Phuket Thailand
(1)
Phuket Film Festival
(1)
Phuket Thailand
(1)
Phuket.
(1)
Poland
(1)
Popular Hotel and Resort Spas
(2)
Portugal
(1)
Protea Hotel President
(1)
Pumba Private Game Reserve
(1)
putrajaya
(1)
Ratchaburi
(1)
rentals
(1)
Resort
(2)
Resort spas
(1)
Russia
(1)
Safety
(1)
Samoafun-packed
(1)
Samui Island
(1)
Scandinavian Cruise
(1)
Ski
(2)
Songkran
(2)
Songkran Festival
(1)
Songkran Splendours
(1)
Songkran Water Festival
(1)
Spa
(1)
Spa in Thailand
(3)
teddy bears
(1)
Thai trains
(1)
Thaiboxing
(1)
thaifestival
(1)
Thailand
(4)
Thailand’s spa popularity
(1)
The south of Thailand
(1)
Tibet
(1)
TIFFANY'S SHOW
(1)
Timex T Series
(1)
Tonga
(1)
tour reviwe
(1)
Tourism
(1)
Trang
(1)
Trat
(1)
Travel
(4)
Travel Agent
(1)
Travel agent introduce
(1)
Travel insurance
(1)
travel review
(1)
Travelling in Thailand
(1)
trip
(1)
Twin tower
(1)
uae
(1)
Ukraine
(1)
Unique Art
(1)
United Arab Emirates
(2)
Universal Studios
(2)
USA.
(1)
vacation
(1)
Valentine’s Day
(1)
Vietnam
(4)
Walt Disney World
(1)
Wanlai
(1)
watch
(1)
whale-watching
(1)
women
(1)
World Heritage Site
(1)
ดีเกร์ฮูลู
(1)
ดุสิตตา
(1)
ท่องเที่ยว
(1)
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
(1)
ท่องเที่ยวราคาถูก
(1)
ทุนการศึกษา
(1)
เทศกาล
(2)
เที่ยว
(1)
เที่ยวตรุษจีน
(2)
เที่ยวมาเลเซีย
(1)
นิวซีแลนด์
(3)
ปัตตานี
(1)
ปากน้ำโพ
(1)
พักผ่อน
(1)
ภูผาเทิบ
(1)
เรียนต่อ
(1)
สตูล
(2)
สิงคโปร์
(1)
โฮมสเตย์
(1)
โฮมสเตย์มาตรฐานปี 2552
(1)
Blog Archive
Blog Archive
July (4)
January (6)
December (4)
November (4)
October (1)
September (3)
August (5)
July (4)
May (4)
April (1)
March (8)
February (7)
January (9)
December (5)
November (7)
October (1)
September (5)
August (12)
July (15)
June (5)
May (7)
April (7)
March (14)
February (10)
January (2)
December (4)
November (4)
October (15)
Download Mp3
Amazon.com Widgets
0 comments:
Post a Comment
A lot of Thank for your comment.